บันทึกอนุทินครั้งที่ 2 วันที่ 17 สิงหาคม 2558
( เนื่องจากวันนี้ไม่ได้มาเรียนจึงเอาาจากเพื่อน)
- อาจารย์ตรวจดูบล็อคของนักศึกษา
- เรียนเรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development)
-ความหมาย (Meaning)
หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา และ การคิดของแต่ละบุคคล พัฒนามาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับ สิ่งแวดล้อม (Environment)
-เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก "ตนเอง" (Self)
-การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดทั้งชีวิตให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)
-ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท
1.กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
- Fitting a new experience it to an exisiting mental structure (schema).
เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ
2.กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)
- Revising and existing schema because of new experience.
หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่
สรุป (Synopsis)
สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
เทคนิคการสอน (Techninal Education)
1.การใช้สื่อเทคโนโลยี
2.มีการตั้งคำถามเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม
3.สรุปองค์ความรู้มาในรูปแบบของ Power Point
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
1.เข้าใจการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี
2.ได้ทักษะจากการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสติปัญญาให้กับเด็กๆในอนาคตได้
บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)
ไม่สามารถนั่งจดบันทึกได้เพราะเป็นห้องสำหรับการทำกิจกรรมการเคลื่อนไหว
ประเมินตนเอง (Self-evaluation)
เนื่องจากนอนเขียนจึงทำให้เผลอหลับในบางครั้ง
ประเมินเพื่อน (Rating friends)
เพื่อนๆตั้งใจเรียน บางคนก็แอบหลับเช่นกัน
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
อาจารย์ตั้งใจสอน พยายามอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาโดยการหาห้องเรียนให้ใหม่
หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา และ การคิดของแต่ละบุคคล พัฒนามาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับ สิ่งแวดล้อม (Environment)
-เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก "ตนเอง" (Self)
-การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดทั้งชีวิตให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)
-ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท
1.กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
- Fitting a new experience it to an exisiting mental structure (schema).
เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ
2.กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)
- Revising and existing schema because of new experience.
หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่
สรุป (Synopsis)
สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
เทคนิคการสอน (Techninal Education)
1.การใช้สื่อเทคโนโลยี
2.มีการตั้งคำถามเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม
3.สรุปองค์ความรู้มาในรูปแบบของ Power Point
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
1.เข้าใจการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี
2.ได้ทักษะจากการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสติปัญญาให้กับเด็กๆในอนาคตได้
บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)
ไม่สามารถนั่งจดบันทึกได้เพราะเป็นห้องสำหรับการทำกิจกรรมการเคลื่อนไหว
ประเมินตนเอง (Self-evaluation)
เนื่องจากนอนเขียนจึงทำให้เผลอหลับในบางครั้ง
ประเมินเพื่อน (Rating friends)
เพื่อนๆตั้งใจเรียน บางคนก็แอบหลับเช่นกัน
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
อาจารย์ตั้งใจสอน พยายามอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาโดยการหาห้องเรียนให้ใหม่
สรุปบทความ
เรื่อง สื่อการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สื่อ การสอนเป็นตัวกลางซึ่งมีความสำคัญในกระบวนการเรียนการสอน มีหน้าที่เป็นตัวนำความต้องการของ
ครูไป สู่ตัวนักเรียนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการสอน
ได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม นักการศึกษาเรียกชื่อสื่อการสอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การสอน วัสดุการสอน
โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่อการเรียนการสอน สื่อการศึกษา เป็นต้น สื่อการสอนที่ใช้ในการสอนมี
หลายชนิดสำหรับเด็กปฐมวัยอาจกล่าวได้ว่าสิ่งใดก็ตามที่เป็นเครื่องช่วยให้เด็กวัยนี้มีพัฒนาการ นับว่าเป็นสื่อการ
สอนได้ทั้งสิ้น ได้แก่ 1.ครู 2. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ 3. สื่อที่ต้องจัดทำขึ้น
ประโยชน์ของการใช้สื่อการสอนวิทยาศาสตร์
1. ช่วยให้เกิดประสบการณ์ตรง โดยเด็กได้เห็น ได้ทดลองและได้ทำด้วยตนเอง
1. ช่วยให้เกิดประสบการณ์ตรง โดยเด็กได้เห็น ได้ทดลองและได้ทำด้วยตนเอง
2. ช่วยให้เด็กเข้าใจบทเรียนดียิ่งขึ้นเพราะไม่ต้องอาศัยจินตนาการเพียงอย่างเดียว ซึ่งเกินความสามารถ
ของเด็ก
3. ช่วยให้บทเรียนเป็นที่น่าสนใจแก่เด็กยิ่งขึ้น อันเป็นเครื่องยั่วยุให้เด็กเกิดความตั้งใจในการเรียนเป็นอย่างดี
4. ช่วยให้เด็กเห็นบทเรียนต่อเนื่องกัน เกิดความคิดและเข้าใจได้ง่าย เช่น ดูภาพยนตร์หรือภาพพลิก
3. ช่วยให้บทเรียนเป็นที่น่าสนใจแก่เด็กยิ่งขึ้น อันเป็นเครื่องยั่วยุให้เด็กเกิดความตั้งใจในการเรียนเป็นอย่างดี
4. ช่วยให้เด็กเห็นบทเรียนต่อเนื่องกัน เกิดความคิดและเข้าใจได้ง่าย เช่น ดูภาพยนตร์หรือภาพพลิก
เกี่ยวกับความเจริญเติบโตของแมลง เห็นความเจริญเติบโตเป็นระยะ ๆ
5. ช่วยให้จัดกิจกรรมให้เด็กร่วมในบทเรียนง่ายเข้า
6. ช่วยให้ผู้เรียนจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้นานและมากขึ้น
7. ส่งเสริมให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอนเพราะเด็กเรียนด้วยความสนุกสนานและ
เข้าใจ
เข้าใจ
สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย มีหลากหลาย ตัวอย่างเช่น ของจริง ของจำลอง สถนการณ์จำลอง ภาพ
บัตรภาพ ภาพชุด แผนภูมิ หนังสือภาพ หนังสือส่งเสริมการอ่าน โสตทัศนูปกรณ์ การสาธิต การทดลอง นิทาน
เพลง เกม และคำคล้องจอง ซึ่งหาได้จากท้องถิ่นและแหล่งต่าง ๆ รอบตัว หรือสามารถผลิตขึ้นใช้เอง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในระดับปฐมวัยที่การใช้สื่อการสอนมีความสำคัญและจำเป็นมากในการจัดประสบการณ์ เพื่อให้เด็กเห็น
เป็นรูปธรรม เกิดความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น ดังนั้นครูควรเลือกใช้สื่อการสอนให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรม โดยควรเลือกใช้สื่อที่เป็นของจริง หรือสื่อมีอยู่ในสิ่งแวดล้อมของเด็ก เพื่อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น