- เนื่องจากมีกิจกรรมงาน ศึกษาศาสตร์วิชาการ อาจารย์ผู้สอนจึงให้นักศึกษาไปดูนิทรรศการต่างๆ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในสตวรราที่ 21
ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ
19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความ
เป็นจริง
19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความ
เป็นจริง
ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่:
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจาก
วงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่
เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กร
วิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและ
ก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า
เครือข่าย P21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจาก
วงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่
เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กร
วิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและ
ก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า
เครือข่าย P21
หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะ
ต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21
ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และ
กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะ
สำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม หรือ 3R และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
ต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21
ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และ
กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะ
สำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม หรือ 3R และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
- 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
- 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิด
- สร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน
- สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น