วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 14 17 November 2015




บันทึกอนุทินครั้งที่  14  วันที่  17  พฤสจิกายน  2558

     
    -  วันนี้ทำกิจกรม  cooking   ทำบลูเบอรี่ชีสพาย
   
  ไอติมไม่ง้อตู้เย็น   และบัวลอย





กิจกรรรม  บลูเบอรี่ชีสพาย

   วัตถุดิบ 

  1.  โอริโอ้
  2.  ครีมชีส
  3.  โยเกิร์ต
  4.  น้ำมะนาว
  5.  น้ำตาลไอซิ่ง
  6.  บลูเบอรี่กระป๋อง
  7.  เนยละลาย

อุปกรณ์

1.  ตะกร้อตีไข่
2.  กะละมัง
3.  ถ้วยพลาสติก


วิธีการทำ  
            
    แบ่งเป็น   3 ฐาน  

         ฐานที่   1   นำโอริโอ้  มาใส่ถุงและทุบให้ละเอียด ใส่เนยละลาย 

แล้วนำไปใส่ถ้วยพักไว้




           ฐานที่  2   นำครีมชีส   น้ำมะนาว  โยเกิร์ต  ใส่น้ำตาลไอซิ่ง

มาใส่กะละมัง ตีให้เข้ากัน




            ฐานที่   3   นำครีมชีสที่ตีเสร็จแล้ว  มาใส่ในถ้วยที่ ใส่โอริโอ้

ไว้แล้ว  เป็นอันเสร็จ



                                                                              


กิจกรรม  บัวลอย

อุปกรณ์
1.  เเป้งข้าวเหนียว
2.  สี
3. กะทิ
4. กระทะไฟฟ้า
5. น้ำตาลทราย

วิธีทำ

   แบ่งเป็น 3  ฐาน คือ


    ฐานที่   1  ผสมแป้งกับน้ำอุ่น  และสี คนให้เข้ากัน  





    
          ฐานที่  2     นำแป้งที่ผสมแล้ว มานวดให้เข้ากัน  แล้วนำมาปั้น

เป็นก้อนกลมๆ





        ฐานที่  3    นำแป้งที่ปั้นเป็นก้อนแล้ว  มาต้มในน้ำเดือด  พอแป้ง

บัวลอยลอยแล้วตักขึ้นนำมาแช่น้ำเย็น  เมือเสร็จแล้ว นำกะทิ  ใส่

น้ำตาลมาต้มให้เดือด จากนั้นนำเม็ดบัวลอยสุกมาใส่ถ้วยแล้วตักน้ำ

กะทิมาใส่ เป็นอันเสร็จ








กิจกรรม  ไอศกรีมไม่ง้อตู้เย็น

อุปกรณ์

1. นมสด
2. นมข้นหวาน
3.เกลือ
4. วิปปิ้งครีม
5. น้ำแข็ง
6.ซิปล็อกขนาดใญ่และขนาดเล็ก
7. ถ้วยสำหรับผสม
8. ตะกร้อตีไข่



 


วิธีทำ

      ไม่เป็นฐานเป็นทำพร้อมกัน   ขั้นตอนแรก เทนมสดใส่ถ้วย  แล้ว

ใส่นมข้นหวาน  ใส่เกลือนิดหน่อย แล้วใส่วิปครีม  แล้วคนให้เข้ากัน




      เทส่วนผสมทั้งหมดลง ในซิปล็อคขนาดเล็ก จากนั้นนำวิปล็อค

ขนาดใหญ่ใส่น้ำแข็งใส่เกลือ หนึ่งถ้วย  แล้วนำถุงซิปล็อคที่ใส่ส่วน

ผสมไว้แล้วลงไป จากนั้น เขย่าจนกว่าส่วนผสมจะเป็นไอศกรีม




     พอได้แล้ว ตักไอศกรีมใส่ถ้วยแล้วนำมาตกแต่ง 

   








เทคนิคการสอน (Techninal Education)

-  เชื่อมโยงกิจกรรมกับหลักวิทยาศาสตร์
-  ใช้เทคนิคการทดลอง
-  ใช้เทคนิคการยกตัวอย่าง

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
-  ใช้ทักษะด้านความคิด
-  ใช้ทักษะการสังเกต
-  ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
-  ใช้ทักษะการฟัง

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
-  ใช้เนื้อหาขั้นตอนในการทำ cooking  ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ ให้แก่เด็กในอนาคตที่เราจะได้ไปสอน

บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)

-   เป็นไปอย่างสนุกสนาน เราะได้ลงมือทำเอง ได้กินขนมอร่อยๆ
ประเมินตนเอง (Self-evaluation)

-  ตั้งใจเรียนมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกับเื่อนมากขึ้น

ประเมินเพื่อน (Rating friends)

-  เพื่อนบางคนยังไม่มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

-  อาจารยืตั้งใจสอนอย่างมาก
-  อาจาย์ให้ความรู้กับนักศึกษาอย่างเต็มที่
-  อารจารย์หาความรู้ใหม่มาสอนยุเสมอ





วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 13 10 November 2015



บันทึกอนุทินครั้งที่  13  วันที่  10 พฤศจิกายน  2558

 - ทำ cooking  ขนมวาฟเฟิล

วัตถุดิบ

1. แป้งวาฟเฟิลสำเร็จรูป 
2. ไข่ไก่ Eggs
3. นมสด  milk
4. น้ำเปล่า  water
5.  กลิ่นวนิลา
6.  เนย
7.  ของตกแต่ง

อุปกรณ์

1.เครื่องทำวาฟเฟิล
2. ตะกร้อตีขนม
3. ถ้วยใส่แป้ง


วิธีการทำ

   การทำวาฟเฟิลแบ่งออกเป็น 3  ฐาน

ฐานที่ 1 การผสมแป้ง









ฐานที่  2   นำแป้งวาฟเฟิลไปอบ







ฐานที่   3   ตกแต่งวาฟเฟิล





ข้าวทาโกยากิ
วัตถุดิบ
1.  ข้าวสวย
2.  ไข่ไก่
3. เนย
4. ซอสปรุงรส
5.  ปูอัด
6.  สาหร่าย  
7.  แครอท
8. มายองเนส


อุปกรณ์

1. เตาทาโกยากิ
2. ถ้วย
3. ตะเกียบ
4. ช้อน
5. หม้อหุงข้าว
6. ทัพพี

ขั้นตอนในการทำข้าวทาโกยากิ  มี  4 ฐาน

ฐานที่  1  ตอกไข่ใส่ลงในถ้วย เมื่อตีเสร็จแล้ว ใส่ข้าวสวยลงไปในไข่สามช้อน



ฐานที่  2   นำข้าวที่ใส่ไข่เรียบร้อยแล้ว นำไปปรุงรสด้วยซอสปรุงรส ใส่ปูอัด   ใส่ต้นหอม  และใส่สาหร่าย  แครอท



ฐานที่  3  นำข้าวที่ได้ไปหยอด ใส่ในเตาทาโกยากิ ใช่ตะเกียบทำให้เป็นลูกกลมๆ





ฐานที่  4    การตกแต่งข้าวทาโกยากิ  โดยการใส่มายองเนส  และโรยด้วยสาหร่าย





เทคนิคการสอน (Techninal Education)
-  การให้เด็กใช้ความคิด
-  ให้เด็กได้ลงมือกระทำเอง
-  สอนโดยเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
-  รู้จักการใช้ความคิดสร้างสรรค์
-  การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
-  การคิดวิเคราะห์

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
-  สามารถนำวิธีการสอน cooking  นี้ไปใช้กับการสอนหรือจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้


บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)
-  สนุกสนานที่ได้ทำกิจกรรมและได้ลงมือทำเอง
-  ได้กินขนมอร่อยๆ

ประเมินตนเอง (Self-evaluation)
-  มาเรียนทันเวลา 
-  ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จ

ประเมินเพื่อน (Rating friends)
-  มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น
-  เพื่อนแย่งขนมกิน

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-อาจารย์ตั้งใจสอนพยายามพูดให้เด็กเข้าใจและหาสิ่งต่างๆและแปลกใหม่มาให้เสมอ




Diary Note12 3 November 2015



บันทึกอนุทินครั้งที่  12  วันที่  3  พฤศจิกายน  2558

   - อาจารย์อภิปรายเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดประสบการณ์

  การเขียนแผนการสอนต้องประกอบไปด้วย

1.  วัตถุประสงค์   ใช้เป็นคำกริยาบอกว่าเด็กทำได้  และเด็กสามารถสังเกตได้
2.  สาระการเรียนรู้  ประกอบด้วยสาระที่ควรเรียนรู้  คือสาระที่เราอยากให้เด็กได้เรียนรู้  ในเรื่องที่เรียนรู้  โดยจะต้องตรงกับพัฒนาการทั้งสี่ด้านของเด็ก
3.  กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบ ด้วย 3ขั้นตอนคือ  ขั้นนำ  ขั้นสอน  และขั้นสรุป
4.  สื่อหรือแหล่งการเรียนรู้   คือ  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนรู้
5.  การวัดและการประเมินผล   สามารถประเมินได้หลายวิธี  เล่น  สังเกตจากการทำกิจกรรม   สังเกตจากการตอบคำถาม
6.  การบูรณาการ  คือ   สามารถบูรณาการกับวิชาอื่นๆได้






เทคนิคการสอน (Techninal Education)

-  ใช้เทคโนโลยีในการสอน
-  ใช้หลักการเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
-  ให้เด็กได้ลงมือกระทำเอง

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
-  ทักษะการสังเกต
-  ใช้ทักษะด้านความคิด
-  ทักษะการตอบคำถาม
-  ทักษะความคิดรวบยอด

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
 
-  นำไปใช้เขียนแผนการสอน  การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้อย่างถูกต้อง

บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)

-  บางคนก็มีความพร้อมในการเรียนบางคนก็ไม่มี

ประเมินตนเอง (Self-evaluation)

-   ตั้งใจเรียนมากขึ้น มีสมาธิในการเรียนมากขึ้น

ประเมินเพื่อน (Rating friends)

-  เพื่อนบางคนยังไม่มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-  อาจารย์ตั้งใจสอนอย่างมาก
-  อาจารย์ให้ความรู้กับนักศึกษาอย่างเต็มที่
-  อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย



Diary Note11 27 October 2015



บันทึกอนุทินครั้งที่  11  วันที  27  ตุลาคม 2558


     กิจกรรมดอกไม้ลอยน้

อุปกรณ์
1. กระดาษ
2. สีเมจิก
3. ถาดพลาสติก
4. กรรไกร


วิธีทำ 

    แบ่งกระดาษให้เป็นสี่เหลี่ยมเท่าๆกัน   จากนั้นใช้กรรไกรตัดให้เป็นกลีบ  แล้วใช้สีเมจิกวาดให้เป็นดอกไม้



       จากนั้นพับกลีบทุกกลีบเข้าหากัน แล้วไปลอยน้ำ



เมื่อลอยน้ำไปสักครู่ดอกไม้ก็จะบานออกจนสุด



สรุป

     จากที่ดอกไม้บานได้เพราะ  กระดาษดูดซึมน้ำ น้ำจะเข้าไปแทนที่ช่องว่างในกระดษษทำให้กระดาษขยายตัวได้  และเวลาของการบานขึ้นอยู่กับขนาดของดอกไม้ด้วยถ้าดกไม้เล็กก็จะบานเร็วถ้าดอกใหญ่ก็จะบานช้า   และเมื่อน้ำเข้าไปโดนสีเมจิกที่อยูในกระดาษสีก็จะละลายออกมากับน้ำ



กิจกรรม เป่าเชือกในหลอด

อุปกรณ์

1. หลอดดูดน้ำ

2.  เชือก




วิธีทำ

   นำเชือกร้อยเข้าไปในหลอดแล้วผูกปลายเชือกเข้าด้วยกัน  จากนั้นเป่าหลอด  แล้วดูการเปลี่ยนแปลงของหลอด 




   สรุป

   เมื่อเราเป่าลมเข้าไปในหลอด ลมมีแรงดัน  ผลักให้เชือกเคลื่อนที่เป็นวงได้




กิจกรรม เงาสะท้อน



อุปกรณ์

1.  กระจกเงาสองด้าน

2.  ภาพ

วิธีเล่น

เมื่อเรานำกระจกสองบานมาทำเป็นสามเหลี่ยมแล้วนำภาพมา ไว้ตรงกลางดังรุป  เราจเห็นเงาสะท้อน 6  ภาพ  เมื่อนำกระจกมาใกล้กันอีก  ก็จะเห็นเป็น  8  ภาพ

สรุป

   เกิดจากการสะท้อนของแสงสะท้อนจากอีกแผ่นไปยังอีกแผ่น  จึงทำให้เห็นรุปที่มากขึ้น 



กิจกรรม  เทียนไขดูดน้ำ

อุปกรณ์

1.  เทียน
2.  จานรอง
3.  น้ำ
4.  ไม้ขีด



วิธีเล่น 

   นำเทียนตั้งในจานรอง  แล้วใส่น้ำลงไป  จากนั้นจุดเทียน

นำแก้วน้ำ มาครอบเทียน แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง







สรุป
    
     เมื่อนำแก้วไปครอบเทียนไข  น้ำก็จะข้ามาในแก้ว และเทียนก็จะดับ  เพราะออกซิจนในแก้วโดนเผาไหม้ไปหมดแล้ว  จนไม่สามารถทำให้เทียนไขติดไฟได้





เทคนิคการสอน (Techninal Education)

-  ใช้สื่อที่เพื่อนประดิษฐ์มาเป็นแนวในการสอน และให้ลองทำการทดลองด้วยตนเอง

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

-  ใช้ทักษะด้านความคิด การวิเคราะห์  การสังเกต  และการิจารณา

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
-  ผลิตสื่อที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากๆในการให้ความรู้ ประสบการณ์แก่เด็กๆ

บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)

-  ทุกคนมีความพร้อมในการเรียน
-  สนุกสนานเราะได้ทำการทดลอง

ประเมินตนเอง (Self-evaluation)

-ตั้งใจเรียนมากขึ้น มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมของห้อง

ประเมินเพื่อน (Rating friends)

-   เพื่อนบางคนยังไม่มีความพร้อมในการเรียนสักเท่าไหร่  ยังติดเล่นไม่ค่อยสนใจที่ครูพูด
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-  ตั้งใจสอนอย่างมาก
-  ให้ความรู้กับนักศึกษาอย่างเต็มที่


Diary Note.10 | 20 October 2015



บันทึกอนุทินครั้งที่  10  วันที่  20  ตุลาคม  2558


    - เพื่อนๆแต่ละกลุมออกมานำเสนอของเล่นที่ประดิษฐ์มาากหน่วยการเรียนรู้ที่ได้รับ มี

      1. หน่วย  ดิน 
ของเล่นที่ใช้ในการทดลอง  การอุ้มน้ำของดิน

ของเล่นที่อยู่ในมุม    นาฬิกาทราย

ของเล่นที่เด็กประดิษฐ์เองได้   ตุ๊กตาล้มลุก



การทดลองการอุ้มน้ำของดิน


        อุปกรณ์

1. ดินเหนียว

2. ดินทราย

3. ดินร่วน

4.ขวดน้ำ

5.ฟิวเอร์บอร์ด

6. แผ่นกรอง

7. น้ำ

   วิธีทำ

1.  ตัดขวดน้ำแบ่งครึ่ง  แล้วตัดแผ่นกรองปิดทางหัวขวด

2.  คว่ำทางที่เป็นหัวขวดลง  

3.  ตัดฟิวเจอร์บอร์ดเป็นรปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ติดกาวที่ก้นขวดกับฟิวเจอร์บอร์ด

4.  ใส่ดินเหนียว  ดินทราย  ดินร่วน ไว้ในแต่ล่ะขวด เป็นอันเสร็จ

      วิธีการเล่น
      
       1. เทน้ำเปล่าลงในขวดพร้อมๆกันทั้งสามขวด

       2. สังเกการไหลของน้ำในแต่ละขวด          


ของเล่นเข้ามุม  นาฬิกาทราย


    อุปกรณ์
 1. ขวดน้ำพลาสติก 2 ขวด
 2. กระดาษแข็งเจาะรูตรงกลาง
 3.  กาว
 4.  สก้อตเทปใส
 5.  ทราย

    วิธีทำ
 1. นำทรายมาใส่ขวดน้ำไว้หนึ่งขวด
 2. นำกระดาษข็งเจาะรูปิดปากขวด
 3. นำปากขวดทั้งสองขวดมาประกบกันโดยให้ กระดาษแข็งเจาะรูอยู่ตรงกลาง
 4.  นำสก็อตเทปใสมาพันรอบปากขวดทั้งสองขวด เป็นอันเสร็

      วิธีการเล่น
    คว่ำขวดจนทรายหมดอีกฝั่งหนึ่งแล้วก็กลับด้าน

ของเล่นที่เด็กประดิษฐ์  ตุ๊กตาล้มลุก


   อุปกรณ์

1.  ลูกบอลลาสติก 

2.  กระดาษสี

3.  กาว

4.  กาวสองหน้า

5.ของตกแต่ง

6. ดินเหนียว หรือดินน้ำมัน


  วิธีทำ
1.  ผ่าลูกบอลครึ่งลูก

2.  นำดินเหนียวหรือดินน้ำมันวางแปะไว้ที่ด้านในลูกบอล

3.  จากนั้นนำกระดาษสีมาห่อคลุมลูกบอลไว้

4.  ตกแต่งให้สวยงามตามจินตนาการ

   วิธีการเล่น

กดขอบๆของลูกบอลมันจะเด้งขึ้นมาไม่ล้มลงไปกับื้น



เทคนิคการสอน (Techninal Education)

-  ใช้สื่อที่เพื่อนประดิษฐ์มาเป็นแนวในการสอน และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

-  ใช้ทักษะด้านความคิด การวิเคราห์ถึงความสัมพันธ์กัน

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 

-  ผลิตสื่อที่มีคุณภาพเพื่อไปจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กได้

บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)

-  ในห้องสนุกสานเราะได้เล่นของเล่นที่ประดิษฐ์มา

ประเมินตนเอง (Self-evaluation)
-  ตั้งใจเรียนมากขึ้นมีส่วนร่มทำกิจกรรมกับเพื่อนมากขึ้น
ประเมินเพื่อน (Rating friends)

-  เพื่อนบางคนยังไม่มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation
)

-  อาจารย์ตั้งใจสอนอย่างมาก
-  อาจารย์ให้ความรู้กับนักศึกษาอย่างเต็มที่
-  อาจารย์เพิ่มเติมความรู้ให้เสมอๆ